การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กันยายน พ.ศ. 2535
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กันยายน พ.ศ. 2535

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กันยายน พ.ศ. 2535

ตรัง เขต 1สระบุรี เขต 1นครราชสีมา เขต 1นนทบุรี เขต 1นครสวรรค์ เขต 2อยุธยา เขต 1อานันท์ ปันยารชุน
อิสระชวน หลีกภัย
พรรคประชาธิปัตย์การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กันยายน พ.ศ. 2535 หรือที่นิยมเรียกกันสั้น ๆ ว่า 35/2 มีขึ้นเมื่อวันที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2535 พรรคประชาธิปัตย์ได้ 79 ที่นั่ง จากทั้งหมด 360 ที่นั่ง ไม่ถึงกึ่งหนึ่งของสภาจึงต้องตั้งรัฐบาลผสม ผู้มีสิทธิเลือกตั้งคิดเป็น 61.6%[1]การเลือกตั้งครั้งนั้นนับการเลือกตั้งครั้งหนึ่งที่ผู้คนตื่นตัวเป็นอย่างมาก เพราะเป็นการเลือกตั้งครั้งแรกหลังเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ ที่เกิดขึ้นมาก่อนหน้านั้น นับเป็นการสิ้นสุดของอำนาจเผด็จการทหาร โดย คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ (รสช.) ที่เข้ามาด้วยการรัฐประหารในวันเสาร์ที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534ผลการเลือกตั้ง พรรคประชาธิปัตย์ ที่ถือเป็นพรรคฝ่ายค้านที่คัดค้านการดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของ พลเอก สุจินดา คราประยูร สมาชิกของคณะ รสช. ที่มิได้มาจากการเลือกตั้ง ได้รับชัยชนะ ด้วยคะแนนเสียงที่ได้มาเป็นลำดับที่หนึ่ง ด้วยจำนวน 79 เสียง จึงเป็นแกนนำในการจัดตั้งรัฐบาล ซึ่งผสมด้วยพรรคการเมืองอีก 4 พรรค คือ พรรคความหวังใหม่, พรรคพลังธรรม, พรรคเอกภาพ และพรรคกิจสังคม มีจำนวนผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้งทั้งหมดร้อยละ 42 นับว่ามากกว่าการเลือกตั้งก่อนหน้านั้น เมื่อเดือนมีนาคม ราวร้อยละ 5 มีจำนวนบัตรเสียคิดเป็นร้อยละ 1.27 และมีการรณรงค์การเลือกตั้งครั้งนั้นมิให้มีการทุจริต โดยคณะกรรมการองค์กรกลาง ใช้คำขวัญที่ว่า "ขายเสียง ขายสิทธิ เหมือนขายชีวิต ขายชาติ"[2] การเลือกตั้งครั้งนี้เป็นครั้งล่าสุดที่พรรคประชาธิปัตย์ชนะการเลือกตั้ง

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กันยายน พ.ศ. 2535

เขตของผู้นำ 16 ตุลาคม 2533

นนทบุรี เขต 1

ผู้ใช้สิทธิ 61.59% ( 2.35)
ผู้นำ ชวลิต ยงใจยุทธ
คะแนนเสียง 6,576,092
% 14.24
พรรค ความหวังใหม่
ลงทะเบียน 31,860,156
First partySecond partyThird partyผู้นำพรรคเขตของผู้นำเลือกตั้งล่าสุดที่นั่งที่ชนะที่นั่งเปลี่ยนคะแนนเสียง %%เปลี่ยน Fourth partyFifth partySixth partyผู้นำพรรคเขตของผู้นำเลือกตั้งล่าสุดที่นั่งที่ชนะที่นั่งเปลี่ยนคะแนนเสียง %%เปลี่ยน
 First partySecond partyThird party
 
ผู้นำชวน หลีกภัยประมาณ อดิเรกสารชาติชาย ชุณหะวัณ
พรรคประชาธิปัตย์ชาติไทยชาติพัฒนา
เขตของผู้นำ26 มกราคม 2534

ตรัง เขต 1

3 กรกฏาคม 2535

สระบุรี เขต 1

23 มิถุนายน 2535

นครราชสีมา เขต 1

เลือกตั้งล่าสุด44 ที่นั่ง, 10.57%74 ที่นั่ง, 16.41%พรรคใหม่
ที่นั่งที่ชนะ797760
ที่นั่งเปลี่ยน 35 3พรรคใหม่
คะแนนเสียง9,703,6727,274,4747,332,388
 %21.0215.7615.88
%เปลี่ยน 10.45 จุด 0.65 จุดพรรคใหม่

 Fourth partyFifth partySixth party
 
ผู้นำชวลิต ยงใจยุทธบุญชู โรจนเสถียรมนตรี พงษ์พานิช
พรรคความหวังใหม่พลังธรรมกิจสังคม
เขตของผู้นำ16 ตุลาคม 2533

นนทบุรี เขต 1

20 มิถุนายน 2535

นครสวรรค์ เขต 2

9 มิถุนายน 2534

อยุธยา เขต 1

เลือกตั้งล่าสุด72 ที่นั่ง, 22.42%41 ที่นั่ง, 11.47%31 ที่นั่ง, 8.06%
ที่นั่งที่ชนะ504722
ที่นั่งเปลี่ยน 22 6 9
คะแนนเสียง6,576,0928,293,4571,863,360
 %14.2417.96%4.04
%เปลี่ยน 8.18 จุด 6.49 จุด 4.02 จุด
เลือกตั้งล่าสุด 72 ที่นั่ง, 22.42%
ที่นั่งเปลี่ยน 22
ที่นั่งที่ชนะ 50
%เปลี่ยน 8.18 จุด

ใกล้เคียง

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2566 การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2562 การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554 การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2549 การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550 การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2557 การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544 การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548 การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2539